
วันนี้จะพาหัวหน้างานไปเรียนรู้ วิธีการรับมือกับลูกน้องจอมดื้อ
ปัญหาอย่างหนึ่งที่ทำให้เจ้านายป วดหัวไปต ามๆกันคือลูกน้องไม่เชื่อฟัง
หรือลูกน้องไม่เคารพ มันจะทำให้การทำงานย ากขึ้น และมีปัญหาอื่นๆ ตามมาอีก
ใครกำลังเจอเหตุการณ์อย่างนี้ มาดูวิธีแก้ไขปัญหากันครับ ว่าทำไมลูกน้องไม่เคารพ
ไม่เชื่อฟัง ให้พิจารณาจากพฤติกร ร มของลูกน้อง เช่นจากการใช้อารมณ์
หรือจากคำพูดในการสื่อสาร และแก้ไขต ามความเป็นจริง เพราะปัญหานี้
มันถือว่า เป็นปัญหาโลกแต กของทุกที่ อย่าว่าแต่ในโลกธุรกิจเลย
ในสังคมทั่วไปก็มีปัญหา ของคนรุ่นใหม่ และคนรุ่นเก่าที่ไม่เข้าใจกันอยู่เสมออยู่แล้ว
ยึดความคิดตัวเองเป็นใหญ่ = ไม่สนว่าลูกน้องจะเสนออะไรมา
ไม่เคยรับฟังพวกเขา ทำให้พวกเขารู้สึกว่า มีหน้าที่ทำตามคำสั่งแค่นั้น
ไม่มีความน่าเชื่อถือ =ไม่ทำตามที่พูด ไม่ตรงต่อเวลา
ไม่มีความมั่นใจบางอย่ าง อาจดูเป็นเรื่องเล็กน้อย
แต่ก็มีส่วนทำให้ภาพลักษณ์ของหัวหน้า ไม่มีความน่าเชื่อถือเช่นกัน
ข าดการปฏิสัมพันธ์ที่ดี = มีการติดต่อกัน ชแค่เรื่องงาน ไม่มีการสื่อสารที่ดี
ทำให้บางครั้งเกิดความเข้าใจผิด เข้าใจไม่ตรงกัน
ใช้อารมณ์มากกว่าเหตุผล = เมื่อลูกน้อง ทำพลาดก็แสดงอาการโมโห
รวมไปถึงใช้ถ้อยคำรุ นแร ง หรือหย าบค ายไม่น่าฟัง
ไม่ให้เกียรติกัน = เช่นตำหนิ ความผิดพลาด
ต่อหน้าคนอื่นไม่เคยฟัง ความคิดเห็น หรือไอเดียจากพวกเขาเหล่านั้น
ไม่เคยใส่ใจ ในเรื่องส่วนตัว = เพราะมุ่งแต่ทำงานให้สำเร็จ
แต่ไม่เคยสนใจ หรือเอาใจใส่ ความรู้สึกของผู้ร่วมงานคนอื่นแม้แต่น้อย
ไม่รู้จักจุดแข็ง-จุดอ่อน คนในทีม = ทำให้ไม่สามารถดึงศักยภาพแต่ละคนออกมาได้
ทำให้ทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ หรือใช้คนไม่เหมาะสมงาน
ไม่เคยขอโทษ ไม่เคยขอบคุณ = เมื่อสั่งงานผิดพลาดก็ไม่สนใจ
ไม่เคยขอโทษ หนักกว่านั้นอาจจะโยนความผิดนั้น
ไปให้ลูกน้องรวม ไปถึงไม่เคยรู้สึกขอบคุณ
ผู้ร่วมงานที่ช่วยกันทำให้งานสำเร็จ ลูกน้องไม่เคารพไม่เชื่อฟังจะแก้ยังไงดี
1 เข้าหาคนในทีม ให้มากขึ้น
ในทางตรงกันข้ามนั้นหัวหน้าบางคน อาจจะมีระยะห่างกับลูกน้องเกินไป
เช่น พูดคุยเฉพาะเรื่องงานหรือหัวหน้าเป็นฝ่ายสั่งให้ทำอย่างเดียว
ฉะนั้น จงลองเข้าหาพวกเขาให้มากขึ้นโดยการชวนคุยนอกเหนือจากเรื่องงาน
หรือแสดงความเอาใจใส่ คนทำงาน เช่นชวนคุยเรื่องความสนใจ
ความเห็นต่างๆ สิ่งเหล่านี้อาจจะเกิดเป็นไอเดียใหม่ๆ ที่ไปพัฒนางานได้
2 รักษาระยะห่าง
สาเหตุคือระหว่างคุณกับลูกน้อง มีความสนิทสนมกันมากไป
เช่นรู้เรื่องส่วนตัวกัน ไปสังสรรค์ด้วยกันบ่อยๆ หลังเลิกงาน ถ้าเจอคนที่สามารถ
แยกแยะ ระหว่างเวลาทำงานกับเวลาส่วนตัวได้ก็โชคดีไป
แต่หากเป็นคนที่เห็นคุณเป็นเพื่อนเล่นตลอดเวลา ควรเริ่มรัก ษ าระยะห่าง
กับเขาให้มากขึ้น ลดการพูดคุย เรื่องส่วนตัวให้น้อยลง ถ้ามีโอกาสก็ลองคุยกันตรงๆ จะได้เข้าใจมากขึ้น
3 มีความเห็นใจผู้อื่น
ถือเป็นอีกเรื่องที่คนเป็นผู้นำควร ก็มีในยุคนี้เลยล่ะเพราะคนทำงาน
มีความรู้สึกนึกคิดบางวันอาจ ต้องจัดการงานเยอะหรือเจอปัญหามากมาย
ที่ทำให้เกิดความกดดัน ส่งผลให้ประสิทธิภาพการทำงานลดลง
หรือมีความจำเป็นที่จะต้องลา ด้วยเหตุผลส่วนตัวก็ตาม ควรถามไถ่เหตุผล
ที่มาที่ไป แทนการจับผิด หรือดุด่าว่ากล่าว แต่จงเข้าไปแก้ปัญหาช่วยเขาดีกว่า
4 ลดบทบาท ความสำคัญ
ถ้าเจอลูกน้องอีโก้สูงไม่เชื่อฟังคำสั่งสั่งงานไปแล้วไม่ค่อยทำ จากนี้ไป
ค่อยๆ ลดบทบาทในทีมของเขาให้น้อยลง เช่นไม่มอบหมายงานสำคัญๆ ให้
แต่ให้เขารับผิดชอบงานง่ายๆ หรืองานเล็กๆ ให้เขาพอมีผลงานนิดหน่อย
5 ไม่แทรกแซงงาน
ถ้ามอบหมายงานให้ลูกน้องทำ แล้วควรไว้ใจให้พวกเขา
ได้รับผิดชอบและคุณก็คอยดูอยู่ห่างๆ ไม่ก้าวก่ายหน้าที่กัน
ระหว่างนี้ อาจจะลองถามไถ่เป็นระยะๆ หากพวกเขากำลังมีปัญหา
6 เปิดใจรับฟังความเห็น
นอกจากนี้หัวหน้าควรเปิดใจรับฟังฟีดแบ็กในการทำงาน
ปัญหาหรือความเห็นของพวกเขาไม่ยึดเอา ความคิดตัวเองเป็นหลัก
และถ้ามีการพูดคุยกัน ควรปล่อยให้พวกเขาพูดให้จบ
ไม่ควรพูดแทรก เพราะพวกเขาอาจจะมองว่าคุณไม่ยอมรับฟัง
ที่สำคัญ ควรแสดงความเอาใจใส่หรือห่วงใย พวกเขาจากใจจริงด้วย
ไม่ว่าจะเป็นท่าทางการแสดงออก สีหน้าน้ำเสียง คำพูดต่างๆ
7 ไม่ตัดสินคนอื่น
หลายๆ ครั้งอาจจะพบว่าผู้ที่เป็นหัวหน้า มีการวิพากษ์วิจารณ์งานลูกน้องอย่ างรุนแรง
และบางที อาจมีการใช้คำหย าบคาบนอกจาก จะทำให้ลูกน้องไม่ฟังแล้ว
อาจจะทำให้ความสัมพันธ์และบรรย ากาศแย่ลงอีกด้วย ซึ่งอย่ าลืมว่า
ประสบการณ์การทำงานมุมมอง และความคิดของแต่ละคน
มันแตกต่างกัน คงจะดีกว่าถ้าทำความรู้จักลักษณะนิสัยของคนในทีม
และเข้าด้วย วิธีการที่เหมาะสมกับของแต่ละคน
8 ยอมรับความผิดพลาด
ในฐานะที่เป็นหัวหน้าก็ต้องการให้งานออกมาสมบูรณ์ แต่อย่าลืมว่ามีหลายปัจจัย
ที่เกินการควบคุม ก็มีการทำผิดพลาดกันบ้างการดุด่าหรือกล่าวโทษ อาจทำให้มุมมอง
ที่พวกเขามีต่อเรา มันเปลี่ยนไปและฟังเราน้อยลง จะดีกว่าไหมถ้าช่วยกันแก้ไขปัญหา
แล้วหัวหน้าเองก็ควรกลับมาทบทวนด้วยเช่นกัน ว่าทำไมเป็นอย่างนั้น
เช่นเราวางแผนงานมาดี หรือให้งานยากเกินไปไหม เวลาในการทำงานน้อยเกินไป
และพร้อมกับหาทางป้องกันไปด้วยเลย
9 ปฏิบัติกับทุกคนอย่ างเสมอภาค
เพราะไม่ว่าจะเป็นคนเก่าหรือคนใหม่ คนสนิท ในเวลางานก็ควรปฏิบัติ
กับทุกคนอย่างเท่าเทียม ให้ความยุติธรรมกับทุกคน ไม่ลำเอียง
ไม่เข้าข้างใครคนใดคนหนึ่งสามารถตักเตือนและ สั่งได้ทุกคนเหมือนกัน
ที่สำคัญควรปฏิบัติ แบบเดียวกันทั้งต่อหน้าและลับหลังด้วย ไม่เอาเรื่องส่วนตัวลูกน้องไปพูดให้คนอื่นฟัง
10 ให้พวกเขาตัดสินใจเองบ้าง
ในฐานะที่เป็นหัวหน้าไม่ควรกุมอำนาจทั้งหมด ไว้ที่ตัวเองคนเดียว ควรปล่อยให้ลูกน้อง
มีอำนาจในการตัดสินใจบ้าง ไม่ว่าการตัดสินใจนั้นจะผิดหรือถูก
แม้จะเป็นการกระทำที่ผิดพลาด ก็ควรให้กำลังใจ ดีกว่าคอยคำสั่งฝ่ายเดียว