
การอบรมสั่งสอน หรือดุให้ลูกให้เป็นเด็ กที่มีพฤติก ร ร มที่เหมาะสมนั้นเป็นของคู่กัน
เพราะที่คุณพ่อคุณแม่ดุ ก็เพื่อให้ลูกเกิดการเรียนรู้และแก้ไข ดุเพื่อให้ลูกเข้าใจว่าเขา
ไม่ควรทำความผิดซ้ำอีก แต่การดุหรือตำหนิลูกไม่ถูกวิธีจะส่งผลให้ลูกสูญเสี ยความ
เชื่อมั่น และไม่เห็นคุณค่าในตัวเอง อีกทั้งยังลดคุณภาพความสัมพันธ์ภายในครอบครัว
อีกด้วย ดังนั้น เมื่อคุณพ่อคุณแม่จำเป็นต้องดุ สั่งสอน หรือตักเตือนลูก ก็ต้องมีวิธีทำ
อย่ างเหมาะสมด้วยเช่นกัน เพื่อให้ลูกเชื่อฟัง และไม่เป็นการทำร้ า ย จิ ต ใ จของลูก
และความรู้สึกของลูกนั่นเอง
1. อย่ าดุลูกขณะที่กำลังหงุดหงิด
ลูกจะรู้สึกแ ย่กับความหงุดหงิดและอารมณ์โกรธ
ของคุณพ่อคุณแม่ ดังนั้นหากรู้สึกหงุดหงิดก็ควร
บอกกับลูกว่า “ตอนนี้แม่หงุดหงิดมาก เดี๋ยวแม่จะ
ไปทำอย่ างอื่นก่อน หายโ ก ร ธ แล้วแม่จะมาคุย
เรื่องนี้กับหนูอีกที” นอกจากลูกจะไม่ต้องมารอง
รับอารมณ์ของคุณแม่แล้ว ยังได้เรียนรู้วิธีการจัด
การกับความโ ก ร ธ อีกด้วย
2. ไม่ดุลูกต่อหน้าคนอื่น
เพราะว่าจะทำให้ลูกเสี ยหน้า ขาดความมั่นใจ
รู้สึกอาย และรู้สึกว่าพ่อแม่ไม่ให้เกียรติเขาเลย
นอกจากนี้ยังทำให้ลูกรู้สึกว่าคำสอนของคุณพ่อ
คุณแม่นั้นไม่มีความหมายอะไร เพราะลูกจะไม่
เข้าใจและไม่รับฟังในสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่พ ย า
ย า มสอน แม้ว่าจะเป็นคำสอนที่ดีขนาดไหนก็ตาม
3. ตำหนิที่การกระทำ ไม่ใช่ที่ตัวลูก
คุณพ่อคุณแม่ควรตำหนิที่การกระทำของลูกแทน
ไม่ใช่ตำหนิที่ตัวลูก ยกตัวอย่ าง เช่น “ แม่ไม่ชอบ
ที่ลูกแกล้งน้องเลย ” หรือ “ แม่ไม่ชอบที่ลูกพูดคำ
ห ย า บเลย ” การทำเช่นนี้จะทำให้ลูกรับรู้ว่าการ
กระทำนี้คุณพ่อคุณแม่ไม่ชอบนะ ไม่ยอมรับ และ
จะปรับปรุงตัวให้ดีขึ้น ในทางกลับกัน หากคุณพ่อ
คุณแม่ตำหนิที่ตัวลูกโดยตรง ย กตัวอ ย่ างเช่น
“ ทำไมเป็นเด็ก เ ก เ ร แบบนี้ ” หรือ “ ลูกแ ย่มาก
ที่พูดจาแบบนี้ ” จะส่งผลให้ลูกรู้สึกว่าตัวเองไม่
เป็นที่รักของพ่อแม่ เป็นเด็ กไม่ดี ไม่เห็นคุณค่า
ในตัวเอง ท้อแท้ สูญเสี ยความมั่นใจ และก็ไม่
อย ากปรับปรุงตัวเองต่อไป
4. หลังจากดุแล้ว บอกสิ่งที่อย ากให้ลูกทำ
ยกตัวอย่ างเช่น เมื่อลูกคนโตลงมือตีน้อง แทนที่
คุณพ่อคุณแม่จะบอกกับลูกว่า ห้ามตีน้องนะ ลอง
บอกทางแก้ปัญหาให้ลูกแทน เช่น “ ลูกไม่จำเป็น
ต้องตีน้อง ต่อไปนี้ถ้าน้องทำอะไรให้หนูไม่พอใจ
ให้มาบอกแม่ ” เพราะการห้ามลูกโดยไม่บอกวิธี
การแก้ปัญหา เมื่อลูกไม่พอใจน้อง ก็จะตีน้องอีก
5. รับฟังเหตุผล และถามความคิดเห็นในมุมมองของลูก
อย่ ารีบตัดสินหรือตำหนิลูกโดยที่ไม่เปิดใจรับฟัง
คำอธิบายหรือเหตุผลของลูก เพราะจะทำให้ลูกนั้น
ต่อต้าน และไม่อย ากอธิบายอะไรให้คุณฟังอีก แต่
ควรใช้วิธีพูดคุย หรือถามลูกว่าถ้าเกิดเขาทำผิดซ้ำ
จะให้มีวิธีการตักเตือนหรือลงโทษอย่ างไร เพื่อให้
ลูกคิดถึงผลเสี ย วิธีแก้ไข และรับผิดชอบในความผิดของตัวเอง