
1. รู้จักเล่าเรื่องราว
การเล่าเรื่องราวต่าง ๆ เป็นอะไรที่ทรงพลังมาก เพราะมันจะทำให้
เราตื่นตัวตลอดเวลา ทำให้การพรีเซนต์ของเราดูน่าสนใจมากขึ้น
น่าเชื่อถือมากขึ้น และอาจจะทำให้เราผ่านการสัมภาษณ์นั้นไปได้
อย่ างราบรื่นเลย ความลับในการเป็นนักเล่าเรื่องที่ดีนั้น คือให้ใช้
คำว่า “ แต่ ” มาประกอบในการเล่าเรื่อง เชื่อว่าทุกๆคนมีเรื่องราว
ดี ๆ อย่ างน้อยหนึ่งเรื่องให้เล่าอยู่แล้วแหละ แต่มันจะดีมากเลย
ถ้าเราเตรียมเรื่องไว้ในหัว อย่ างน้อยสามเรื่องสำหรับสถานการณ์
ที่แต กต่างกันออกไป เราก็สามารถใช้เรื่องพวกนี้เป็นตัวดึงดูดความ
สนใจและให้คนฟังคล้อยตามไป ในสิ่งที่คุณกำลังพูดอยู่ได้เลยนะ
2. อย่ าติด เ อ่ อ อ่า
การที่คุณพูด คือ / เอ่อ / แบบว่า ในระหว่างประโยคนั้น มันไม่ทำ
ให้การพูดของคุณดูดีขึ้นเลย จงเอาคำพวกนั้นออกไปเสี ยเถอะ
แล้วประโยคของคุณจะฟังดูน่าเชื่อถือและมั่นใจมากขึ้นด้วย วิธี
ที่จะลดการพูดคำพวกนี้ก็คือ ตั้งสติและลองนับดูว่าเราพูดมันบ่อย
แค่ไหน หรืออาจจะลองเอามือออกจากกระเป๋าทำตัวตามสบาย
และหยุดทำสมาธิก่อนที่จะพูดก็ดีนะ ความเงียบระหว่างประโยค
มัน ไม่ แ ย่ อย่างที่คิดหรอกนะ
3. ปรับตัวไปตามผู้ฟัง
การสื่อสารที่ดีที่สุด คือปรับวิธีการพูดไปตามผู้ฟัง คุณอาจจะมีสไตล์
ในการสื่อสารมากมายหลายแบบ ไม่ว่าจะเป็นเวลาที่ต้องพูดกับเพื่อน
ร่วมงาน หัวหน้า แฟน เด็ ก หรือผู้สูงอายุ พย ายามนึกถึงผู้ฟังของเรา
อยู่เสมอ เวลาที่เราต้องการจะสื่อสารอะไรกับเขา แน่นอนว่าอย่ าพูด
กับแฟนเหมือนกับที่พูดกับหัวหน้า ไม่อย่างงั้นแ ย่แน่ๆ
4.ตัดอะไรที่รบกวนความสนใจออกไป
มันค่อนข้างจะดูไม่ดีนะที่เราเล่นมือถือตลอดเวลา ในขณะที่กำลัง
อยู่กับเพื่อน ๆ จริงๆแล้วเราควรจะคุยกับพวกเขามากกว่า ก็เข้าใจ
แหละว่าเราไม่สามารถจะกำจัดสิ่งรบกวนหรือเทคโนโลยีต่าง ๆ
พวกนี้ออกไปได้หมด แต่การหยุดใช้มันซักแป๊บนึง ก็จะทำให้ความ
สามารถในการสื่อสารกับคนอื่นดีขึ้นอย่ างเห็นได้ชัดเลย ร ะ วั ง
เอาไว้ด้วย ถ้าเราไม่สนใจฟังที่คนอื่นพูด พวกเขาก็จะมองว่าเรา
เป็นคนห ยิ่ งและไม่ฉลาด ซึ่งอาจจะเป็นคนแบบนั้นจริง ๆ ก็ได้
5. พูดสั้นๆ แต่ก็เจาะจงด้วย
เวลาสื่อสารทั้งการเขียนและการพูด ทางที่ดีนั้นควรจะมีที่มาที่ไป
หรือเหตุผล ใจความ และประโยคปิดท้ายที่ดีด้วย เพื่อที่ข้อความ
ของเรานั้นจะได้สั้น กระชับและไม่มีอะไรตกหล่น นอกจากนั้นแล้ว
เราควรจะสื่อสารให้ชัดเจน ได้ใจความ เห็นภาพถูกต้อง เ นื้ อ ความ
สอดคล้องกัน ครบถ้วนสมบูรณ์ และสุภาพนอบน้อมอีกด้วย
6. ฟังให้มาก
สิ่งหนึ่งที่เราต้องทำได้ก็คือ ฟังให้เยอะ ๆ ให้ความสนใจกับสิ่งที่
คนอื่นกำลังพูดและไม่ขัดจังหวะเขา ถึงเราจะมีสไตล์ในการสื่อ
สารที่ไม่ตรงกัน แต่อย่ างน้อยเราก็จะเข้าใจในเรื่องเดียวกันนะ
และหวังว่าอีกฝ่ายจะฟังเราอย่ างตั้งใจเหมือนกับที่เราฟังเขา
7. นึกถึงความรู้สึกคนอื่น
การสื่อสารเป็นอะไรที่ไปสองทาง ถ้าคุณฝึกมองจากมุมมองของ
ฝั่งตรงข้ามเรา จะลดความกั งว ลและความย ากลำบากในการสื่อ
สารกับผู้อื่นไปได้เลย ตัวอย่ างเช่น ถ้าคุเราเข้าใจเวลาที่แฟนเรา
บอกว่าเธอเหนื่อยเกินกว่าที่จะคุยกันว่าจริง ๆ แล้วมันหมายความว่า
เธออย ากคุยกับเรา แปลว่าเราก็มาถูกทางแล้ว การนึกถึงความรู้สึก
คนอื่นจะทำให้เราเข้าใจข้อความของฝั่งตรงข้ามที่ต้องการสื่อกับ
เราได้ดีขึ้น ถึงแม้ว่าบางอย่ างเค้าจะไม่ได้พูดมันออกมาก็ตาม และ
พอเราเข้าใจก็จะสามารถโต้ตอบได้อย่ างมีประสิทธิภาพนั่นเอง
8. ร ะ วั งภาษาก ายของเราไว้ให้ดี
หากเราบอกเพื่อนของเราว่าเราพร้อมที่จะคุยกับเขา แต่ก็กำลังกอด
อกอยู่ เราบอกว่าเรากำลังฟังที่เขาพูดนะ แต่ตาก็ยังมองโทรศัพท์อยู่
พอจะนึกภาพออกหรือยัง? ฉะนั้น ภาษากสยจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพราะ
ภมันมักจะบอกอะไรได้มากกว่าที่เราคิด ไม่ว่าจะเป็นวิธีที่เราสบตาเขา
หรือท่าทางของเราในตอนที่สัมภาษณ์ เรากำลังสื่อสาร อยู่ตลอดเวลา
แม้คุณจะไม่ได้พูดอะไรเลยก็ตาม
9. มีสคริปอยู่ในหัวสำหรับการพูดคุยต่างๆ
ทั้งแบบกึ่งทางการ หรือการพูดเนื่องในโอกาสต่างๆ การพูดแบบ
กึ่งทางการเป็นศาสตร์ที่มีคนแค่ไม่กี่คนสามารถทำได้ ถ้าเราไม่ใช่
คนพวกนั้น เราควรจะวางแผนไว้ล่วงหน้าให้ดี เพราะการพูดติด ๆ
ขัด ๆ เวลาที่ต้องคุยกับคนที่เราไม่คุ้นเคยนั้น เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยง
ไม่ได้ส่วนใหญ่แล้วการพูดถึงครอบครัว หน้าที่การงาน กิจก ร ร ม
ยามว่างหรือความฝันของเรา จะเป็นหัวข้อที่ดีในการสนทนาเพราะ
ข้อมูลเหล่านี้จะช่วยให้เราและคู่สนทนาของเราได้รู้จักกันมากขึ้น
และมันก็ง่ายขึ้นที่จะหาเรื่องคุยอื่นๆที่คุณทั้งคู่สนใจต่อไปนั่นเอง
10. คอยถามคำถาม และทวนในสิ่งที่อีกฝ่ายพูดเสมอ
เชื่อเราทุกคนเคยนั่งใจลอยเวลาที่คนอื่นพูดอยู่ หรือได้ยินอะไรผิด ๆ
การถามคำถามและทวนในสิ่งที่อีกฝ่ายพึ่งพูดถึงไป จะแสดงให้เห็นว่า
เราได้ใส่ใจกับสิ่งที่เขาพูด และช่วยให้เราได้เข้าใจในบางอย่ างที่เรา
อาจจะเข้าใจผิด นอกจากนั้นมันยังช่วยในการพูดแบบกึ่งทางการและ
ช่วยเติมเต็มความเงียบในบทสนทนาได้อีกด้วยนะ แทนที่จะเปิดการ
สนทนาด้วยลมฟ้าอากาศ ลองถามคู่สนทนาของคุณดูว่า หน้าร้อนนี้
มีแพลนไปไหนรึเปล่า หรือช่วงนี้ได้ดูหนังอะไรบ้างไหม แล้วก็ต่อยอด
จากคำตอบเหล่านั้นดีกว่า เราควรจะเป็นคนที่ให้ความสนใจคนอื่น
มากกว่าทำตัวเป็นคนที่น่าสนใจซะเองนะ