
เชื่อว่าคงมีหลายๆ คน เจอกับปัญหาที่ว่า ทำงานได้เงินมาเท่าไหร่ก็ต้องเอาใช้หนี้หมด
จนทำให้ไม่มีเงินออม แต่จะมีสักกี่คนที่รู้ว่าถึงเราจะมีหนี้ เราก็ควรที่จะต้องแบ่งเงินไว้
เก็บด้วย เพราะเคยมีตัวอย่ างจากคนใกล้ตัวให้เห็นที่มีหนี้ แต่ไม่วางแผนการออมเงิน
ไว้เลย ลองอ่ านดูนะ…
มีอยู่วันหนึ่ง…ลูกชายเพื่อนผมดันขี่มอเตอร์ไซค์ ไปช นท้ายรถหรูที่มีราคาแพงคันนึง
โชคดีที่เจ้าของรถยนต์เขาเห็นลูกชายบ า ดเ จ็ บ หนักก็เลยไม่คิดที่จะ
เอาเรื่อง แต่ก็ต้องเสี ยค่ารั ก ษ า พ ย า บ า ล กับค่าซ่อมรถมอเตอร์ไซค์
หมดไปเป็นหมื่นเลย
เพื่อนผมเล่าไปก็ร้องไห้ไป…
เพราะมันทุ กข์ใจว่าหนี้เก่ายังจ่ายไม่หมดเลย ยังต้องกู้เงินเพิ่มมารั ก ษ า
ลูกอีก ทุกวันนี้อย่ าได้คิดถึงการออมเงินเลย เพราะไม่ว่าจะหาเงินมาได้
เท่าไหร่ก็ต้องนำไปจ่ายหนี้หมด ชีวิตนี้เป็นหนี้ไม่จบไม่สิ้นสักที และนั่นที่
เป็นจุดเริ่มต้นทำให้ผมต้องเริ่มคิดใหม่อีกครั้ง ผมเริ่มคิดว่าตัวเองมองอะไร
พลาดไปหรือเปล่า นอกจากความรับผิดชอบในการใช้หนี้ และสิ่งที่ผมพลาด
ก็คือ ผมลืมคิดถึงแผนสำรอง เผื่อช่วงที่เกิดเหตุการณ์ที่มันไม่คาดฝันขึ้น
เช่น เกิดอุ บั ติ เ ห ตุ มันทำให้ผมรู้ว่า คนที่มีหนี้อย่ างน้อยก็ต้องมีเงินออม
ที่เรียกว่า “ เงินฉุ ก เฉิ น ” เก็บไว้ด้วย เพราะเงินก้อนนี้นั้นสำคัญกับชีวิตมาก
พูดมาถึงตรงนี้แล้ว หลายคนคงคิดว่า “ คงเป็นไปไม่ได้หรอกที่จะสามารถ
มีเงินออมได้ ถ้าหากยังมีหนี้สินอยู่ ” งั้นเรามาดูวิธีแบ่งเงินใช้หนี้และมีเงิน
เก็บแบบง่ายๆกันดีกว่า
–ขั้นตอนแรก
เราสามารถทำได้ง่ายๆ โดยเริ่มจากการเขียนบัญชีรายรับรายจ่ายเลยนั่นเอง
เพราะจะทำให้เรารู้ได้อย่ างแน่นอนว่า เงินที่ได้มานั้นใช้จ่ายไปในเรื่องใดบ้าง
เมื่อถึงวันที่เงินเดือนเข้าบัญชีหรือขายของมีรายได้เข้ามาก็แบ่งเงินเป็น 2 กอง คือ
1.กองที่เก็บ
เงินในส่วนนี้ก็คือ เงินสดสำรอง ฉุ ก เ ฉิ น
(จำนวนรายจ่าย ให้อยู่ได้อย่างน้อย1-3เดือน)
2.กองที่ใช้
ก็คือ เงินสำหรับไว้ใช้จ่ายหนี้สินและใช้จ่ายส่วนตัว
เทคนิคของผมง่ายนิดเดียวครับ แค่แบ่งเงินเก็บไว้ก่อนนำไปใช้เสมอ แล้วค่อยๆ ออมเงิน
จนกระทั่งครบตามจำนวนที่ตั้งไว้ เช่น ถ้าเรามีรายจ่ายเดือนละ 10,000 บาท ดังนั้น เงินใน
ส่วนฉุ ก เ ฉิ น ก็ต้องเตรียมไว้อย่ างน้อยประมาณ 10,000 – 30,000 บาท โดยเริ่มต้นแบ่ง
เงินรายได้มาเก็บทุกเดือน อาจจะเดือนละ 500 – 1,000 บาท จำนวนที่เก็บก็ขึ้นอยู่กับความ
สามารถของแต่ละคน แต่ผมอย ากบอกว่าจำนวนเงินที่เก็บยังไม่สำคัญเท่าวินัยที่จะเก็บให้
ได้ทุกเดือน เพราะหากมีวินัย เงินเก็บก็จะค่อยๆ เพิ่มขึ้นจนครบ
ในที่สุดครับ หลังจากแบ่งเงินเพื่อเก็บแล้ว ก็แบ่งเงินอีกส่วนมาชำระหนี้ที่มีอย่ างสม่ำเสมอ
ทุกงวดจะได้มีประวัติเป็นลูกหนี้ที่ดี
สุดท้าย เหลือเงินเท่าไหร่ก็ค่อยเอาใช้ส่วนตัวนะครับ ผมขอเสริมเทคนิคให้อีกนิดนะครับ
ผมลองเอาเงินส่วนที่เหลือนี้มาหารจำนวนวันที่เหลือก่อนที่เงินของเดือนใหม่จะเข้าบัญชี
ผมลองตั้งวงเงินใช้จ่ายทั่วไป ให้ตัวเองไว้ 200 บาทต่อวันเท่านั้น แต่ผมยังมีเงินเหลือราย
วันอีก ถึงแม้จะเหลือไม่เยอะ แต่ผมก็ได้ฝึกวินัยและสามารถลดค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟื่อยได้อย่ าง
มีสติครับ เคยสงสัยกันมั้ยครับว่า ทำไมทุกคนควรมีเงินออมหรือที่ผมเรียกว่าเงินสำรอง ฉุ ก
เ ฉิ น ? เพราะหากวันใดวันหนึ่งเมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันขึ้น อาจจะ บ า ด เ จ็ บ จนไม่
สามารถหารายได้ในแต่ละวันได้ เราก็ยังมีเงินมาพอใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน และเงินออมนั้น
ยิ่งมีมากเท่าไหร่ ก็ยิ่งสามารถทำให้เราสบายใจได้มากขึ้นเท่านั้น เรื่องแบบนี้มันขึ้นอยู่กับ
ความพอใจของแต่ละคน ซึ่งเงิน ฉุ ก เ ฉิ น ก้อนนี้จะทำให้เรารอดพ้น วิ ก ฤ ต ของชีวิต และ
ทำให้เราไม่เป็นหนี้ก้อนโตเพิ่มนั่นเองครับ
ขอบคุณ t i d l o r