Home ข้อคิดเตือนใจ จะจบอะไรมาก็ไม่สำคัญ ทุกคนมีความสามารถในตัวเองเสมอ เลี้ยงดูตัวเองได้ก็พอ

จะจบอะไรมาก็ไม่สำคัญ ทุกคนมีความสามารถในตัวเองเสมอ เลี้ยงดูตัวเองได้ก็พอ

0 second read
0

ในตอนที่ทุกคนยังเป็นเด็ กๆ นักเรียนหลายๆคน ต่างก็เชื่อเสมอว่าถ้าได้ตั้งใจเรียน

แล้วสอบติดในคณะที่ใช่ ก็จะยิ่งมีโอกาสได้งานที่ดี เงินเดือนที่ดีด้วย และยิ่งถ้าเป็น

อาชีพที่ใครๆก็รู้จักด้วยเเล้ว อย่ างเช่น ข้าราชการ นักธุรกิจ วิศวกร ก็ยิ่งน่าภูมิใจไปใหญ่

เพราะนอกจากเงินเดือนที่ได้อย่ าง ส ม น้ำ ส ม เ นื้ อแล้ว ยังมีจำนวนมากพอที่จะ

สามารถนำไปจุนเจือภายในครอบครัวได้ด้วย มีสวัสดิการดีๆรองรับให้สุขสบาย

แถมยังเป็นอาชีพที่ถือว่ามีหน้ามีตาทางสังคม ที่ใครๆก็ต้อนรับกันหมด แต่ในโลก

ของความเป็นจริงแล้วนั้น อาชีพที่มีหน้ามีตาในสังคม มันก็ใช่ว่าจะเหมาะกับทุกคน

เสมอไป และในแต่ละอาชีพเขาก็มีการกำหนดอัตรารับสมัครในแต่ละปี ที่ค่อนข้างจำกั ด

“ แล้วจะเรียนไปทำไม ถ้าสุดท้ายก็ได้งานที่ไม่ตรงสาย , งานที่น้อยคนจะรู้จัก ,

งานที่เงินเดือนก็ไม่ได้มากมายอะไร ? ” คำถามนี้จะได้คำตอบที่ เ ค รี ย ด มาก ๆ

เพราะมันเต็มไปด้วยความคาดหวังที่คิดว่า “ เรามีทางเลือกอยู่ไม่กี่อย่างในชีวิต ”

แต่ถ้าลองปรับเปลี่ยนความคิดดูใหม่ จะรู้ได้ว่า “ ฉันจะทำงานอะไรก็ได้ ไม่ว่างานนั้น

จะตรงสายหรือไม่ตรงสายก็ตาม ” มันอาจดูเหมือนประโยคขิ้แ พ้ในสายตาของบางคน

แต่ถ้าลองคิด ๆ ดูแล้ว มันก็ได้ความสบายใจที่มากกว่าการตั้งคำถามในแบบแรก

เพราะความเป็นจริงของชีวิตนั้นก็คือ

1. มนุษย์ทุกคนมีความสามารถในตัวเองที่ “ แต กต่าง ” กันออกไป เราไม่จำเป็นต้องเก่งเหมือนกันหมด

2. แม้แต่ในคนๆเดียวกัน ก็ยังมีความสามารถที่หลากหลายได้ เช่น เป็น ห ม อ

แต่ก็เล่นดนตรีเก่ง ทำ อ า ห า ร เก่ง เป็นศิลปินแต่ก็คำนวณเก่ง ขับรถเก่ง เป็นต้น

3. สิ่งที่เรา “ เก่ง ” ไม่จำเป็นต้องออกมาในรูปแบบวิชาชีพก็ได้ อย่ างเช่น ห ม อ วิศวกร

พ ย า บ า ล มันอาจเป็นพรสวรรค์ก็ได้ เป็นความรู้อะไรก็ได้ที่เราเอาจริงกับมัน เช่น

การทำ อ า ห า ร จัดสวน การออกแบบ

4. ในรั้วโรงเรียน หรือในรั้ว ม ห า วิ ท ย า ลั ย ต่อให้เราได้เรียนกับอาจารย์ที่เก่งแค่ไหน

ขอบเขตความรู้มันก็เป็นเพียงความรู้ในรั้วเท่านั้น โลกของวัยผู้ใหญ่ที่มันเติบโตขึ้น

เรายังต้องได้รู้ ได้เห็นอีกมากมาย ต้องเรียนรู้กันอีก ย า วๆ ลองผิดลองถูกกันอีกเยอะ

ดังนั้น จะมา ฟั น ธ ง ว่าเรียนมาสายวิทย์ ต้องทำงานสายวิทย์เท่านั้น หรือเรียนสายภาษา

ก็ต้องทำงานสายภาษาเท่านั้น แบบนี้มันก็ไม่ถูกเสมอไป

5. มันเป็นเรื่องปกติธรรมดาที่มนุษย์ทุกคนต้องวิ่งตามหาในสิ่งที่ ใ ช่ ค่อย ๆ เรียนรู้

ค่อย ๆ ปรับตัวไป สิ่งที่เรากำลังสนุกอยู่ในตอนนี้ บางทีมันอาจจะยังไม่ใช่ที่สุดเสมอไป

และสิ่งที่เราเก่งในตอนนี้ ในวันข้างหน้ามันอาจเป็นเพียงแค่ความทรงจำก็ได้ เพราะว่า

อาจมีหลายๆปัจจัยให้คิดมากขึ้น เช่น จำเป็นต้องพับโครงการเรียนต่อเอาไว้ก่อน

เพราะเงินไม่เพียงพอ จำเป็นต้องทำงานหาเงินให้ได้ก่อน แล้วค่อยไปเรียนศิลปะที่เราชอบ

เราต้องดูจังหวะของชีวิตตัวเองด้วยเช่นกัน (ความจำเป็นของชีวิตแต่ละช่วง)

6. สิ่งที่เราเรียนรู้มาเป็นสิบ เป็นร้อยกว่าวิชานั้น มันคือ “ การหล่อหลอม ”

ในหลายๆวิชาไม่ได้สอนเราในทางตรง แต่ให้เราค่อย ๆ ซึมซับข้อดีแต่ละอย่ างไปเอง

เช่น ฝึกความอดทน ฝึกความประณีต ฝึกทักษะการเข้าสังคม เป็นต้น

ในครั้งหนึ่งที่เราไม่เห็นประโยชน์ว่าจะใช้อะไรได้จริง พอโตขึ้นอีกหน่อย มันก็ต้องมีบ้างแหละ

ที่เรานึกอะไรขึ้นมาจนต้องไปหา อ่ า น ปัดฝุ่นตำราอีกครั้ง ทุกความรู้ที่เราได้รับไม่เคยสูญเปล่า

แค่เรามองไม่เห็นค่ามันเอง ลองนึกดูให้ดีๆสิ !

7. มนุษย์เราควรมีทางเลือกให้กับชีวิตไว้หลายด้าน หรือ มีแผนสำรอง เพื่อไม่เป็นการ

ปิ ด กั้ นตัวเองจนเกินไป เช่น ถ้าวุฒิที่เราเรียนมามันหางาน ย าก จะยอมรึเปล่าที่เอาวุฒิ

ต่ำกว่านี้หางานทำไปก่อน ? ถ้าเราไม่ได้อาชีพนี้แล้ว เรายอมได้หรือเปล่าที่จะทำอาชีพอื่น

ไปพลางๆ ก่อน? ความฝันกับสิ่งที่ใช่ มันไม่ควรเป็นสิ่งที่ได้ดั่งใจในทันที และมันเป็นเรื่อง

ธรรมดามาก ๆ ที่ต้องแลกกับความเห น็ดเหนื่ อย ความ พ ย า ย า ม หลายๆเท่าตัว

มันจึงไม่ใช่เรื่องแปลกแต่อย่ างใด หากจะพบว่าทำไม ห ม อ บางคนถึงแต่งเพลงได้?

ทำไมบางคนเรียนวิชาชีพแต่มาเป็นศิลปิน? ทำไมบางคนเรียนไม่จบแต่ประสบความสำเร็จ?

อย่ าลืมว่า โลกเรามันกลม และมีหลายมิติ ใช่ว่าจะต้องมองเพียงด้านเดียว

Load More Related Articles
Load More By kondee
Load More In ข้อคิดเตือนใจ

Check Also

ขอฝากถึงลูกๆทุกคน เมื่อวันหนึ่งที่พ่อแม่ต้องเดินทางไกล

ลองคิดดูนะว่า…การที่เราได้เกิดมาลืมต าดูโลกนั้น ค … …